Monthly Archives: October 2012

วิธีการป้องกันการกำเนิดแผลกดทับอย่างละเอียด

แผลกดทับที่สามารถที่จะเกิดขึ้นได้กับทุกๆคนนั้นสามารถที่จะป้องกันได้หากทุกคนนั้นได้ทำการระมัดระวังถึงผลกระทบของมันที่จะเกิขึ้นกับทุกๆคนๆได้ เพื่อที่จะทำให้ทุกคนนั้นได้มีการป้องกันแผลที่อาจจะเิกิดขึ้นได้แล้วทำให้คุณนั้นมีความทุกข์ทรมาณได้นั้น ผมได้มีเขียนถึงวิธีการป้องกันของแผลที่จะเกิดขึ้นดังนี้ครับ วิธีการป้องกันการกำเนิดแผลกดทับ การป้องกันการเกิดแผลกดทับนั้นง่ายกว่าการรักษาเป็นอย่างมาก แพทย์และผู้ป่วยควรจะรู้สาเหตุถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดแผล วิธีการป้องกันมีดังนี้ 1. ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ง่าย หรือช่วยตัวเองได้ ทำให้เกิดแผลกดทับกับตัวผู้ป่วยได้ง่าย 2. ให้มีความระมัดระวังอย่างมากในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย 3. เลือกใช้หมอนเบาะรองนั่งแทนที่จะเป็นเก้าอี้ธรรมดา 4. ควรที่จะผลิกผู้ป่วยบ่อยๆ อย่างน้อยทุกๆ 2 ชั่วโมง และเปลี่ยนผ้าบ่อยๆด้วย 5. สอนให้ผู้ป่วยที่นั่งรถเข็นรู้จักการยกตัวเองและถ่ายน้ำหนักตัว การรักษาแผลกดทับแบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ 1. Local treatment 1.1 รักษาแผลกดทับโดยการผ่าตัด ใช้วีธีนี้ถ้าแผลกดทับมีขนาดใหญ่ แล้วศัลยแพทย์จะเลือกวิธีที่เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละราย และจะต้องดูแลผู้ป่วยให้ดีหลังจากผ่าตัดด้วย 1.2 รักษาแผลโดยไม่ผ่าตัด ให้หลีกเลี่ยงการถูกกดทับ แล้วทำความสะอาดแผลโดยน้ำยาล้างแผล แล้วถ้ามีอาการติดเชื้อสามารถที่จะควบคุมได้โดยใช้รังสีอุลตร้าไวโอเล็ต มาช่วยในการทำความสะอาดแผล

แผลกดทับกับบริเวณที่น่าจะเกิดมันมากที่สุด

มารู้จักแผลกดทับกันเทอะพวกเรา!!!! การที่บางจุดของร่างกายของคนเราทนต่อแรงกดทับได้ดียกตัวอย่างเช่น ปริเวณที่มีกล้ามเนื้อมาก การเคลื่อนตัวไม่ว่าจะเพื่อทำความสะอาดหรือลุกเดิน ลุกจากรถเข็น เป็นธรรมดาที่จะเกิดแรงเสียดสีจากการไถกับพื้นทำให้เกิดแรงเสียดสีกับหนังกำพร้า ทำให้เกิดการปริแตกของเนื้อเยื่อมากขึ้น ข้อสังเกตุ หากมีผิวหนังมีอาการแดงแม้ว่าจะรอจนนานไปแล้วก็ตาม สีผิวก็ยังไม่กลับมาเป็นดังเดิมถึงแม้ว่าจะไม่มีอาการของแผลกดทับก็ตาม นั่นก็คืออาการเบื้องต้นของแผล แผลก็จะมีสีดำคล้ำหากเกิดการติดเชื้อ มีกลิ่นและหนองตามมาถ้าดูจากเพียงภายนอกเท่านั้นแผลอจจะมีขนาดใหญ่ หากมีการเกิดแผลแบบนั้นให้ปรึกษาแพทย์ทันที น้ำหนักของผู้ป่วยที่กดทับในขณะนอน จะถูกกดทับมากที่บริเวณหลังและสะโพก ซึ่งเป็นส่วนที่มีความเสี่ยงที่สุด บริเวณที่เกิดแผลกดทับ ท่านั่งนานๆ ส่วนที่จะเกิดบ่อยๆคือ กระดูกสะบัก, ข้อเท้า, เท้า, ก้นกบ, หัวเข่าด้านหนัง เป็นต้น นอนตะแคง ส่วนของร่างกายที่จะเปิดบ่อยคือ กระดูกก้น ฝีที่เย็บ ตาตุ่ม หัวด้านข้าง. หัวไหล่ นอนหงาย บริเวณที่น่าจะเกิดบ่อยๆคือ ส้นเท้า ศอก หลัง ท้ายทอย เป็นต้น ท่าคว่ำ ส่วนที่มีความน่าจะเป็นสูงที่จะเกิด คือ ใบหู ใต้ราวนม หัวเข่า ตะโพก เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วเส้นเลือดมีแรงดันของเส้นเลือดฝอย ถ้ามีอะไรมากั้นไว้ก็เหมือนกับว่าน้ำก็จะไหลได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งก็เหมือนกับการที่เส้นเลือดถูกกดทับจนเลือดไม่สามารถมาเลี้ยงกล้ามเนื้อได้ โดยปกติแล้ว หากมีแรงกดมากกว่า 20 mm […]

คุณรู้ไหมว่าแผลกดทับคืออะไรมาทำความรู้จักกัน

แผลกดทับคืออะไรมาทำความรู้จักกันเถิด!!!! แผลกดทับ มักจะถูกพบที่ผู้ป่วยที่ส่วนมากจะกลั้นปัสสาวะไม่ดีเพียงพอ หรือผู้ป่วยที่มีน้ำหนักเกินมากๆหรือผอมเกินไป ส่วนที่ว่าแผลกดทับคืออะไรนั้น มันก็คือการตายของเซลล์หรือเนื้อเยื่อเหตุเพราะการขาดเลือดเพราะว่าถูกกดทับนานๆ ส่วนใหญ่มักจะเกิดที่บริเวณเนื้อเยื่อเหนือปุ่มกระดูก อาทิเช่น ตาตุ่ม ตะโพก หรือก้นกบ สาเหตุที่ทำให้เกิดแผลกดทับ อายุเยอะ มีการบวมของน้ำ ทำให้เกิดการขวางของออกซิเจนและอาหารเพื่อเลี้ยงเซลล์ ต่อมไร้ท่อมมีอาการผิดปกติ เกิดจากแรงเสียดทานและการไส มักจะพบในผู้ป่วยอัมพาตที่นั่งรถเข็นตลอดเวลา เกิดการผิดปกติในการรับประทานอาหาร เช่น การขาดโปรตีนทำให้แผลหายช้าลง ปัจจัยอื่น เช่น เหงื่อ อุจจาระ ภาวะติดเชื้อ ข้อสังเกตุการกดทับมีดังนี้- การถูกกดเป็นระยะเวลาสั้นๆแต่จำนวนมากทำให้เกิดอันตรายได้เท่ากับการกดระยะเวลานานๆแต่ว่าแรงกดน้อยๆ, ที่ที่มีกล้ามเนื้อหนาสามารถทนแรงเสียดทานได้ดี- โดยทั่วไปเส้นเลือดมีแรงดันของเส้นเลือดฝอย ถ้ามีอะไรมากั้นไว้ก็เหมือนกับว่าน้ำก็จะไหลได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งก็เหมือนกับการที่เส้นเลือดถูกกดทับจนเลือดไม่สามารถมาเลี้ยงกล้ามเนื้อได้ โดยปกติแล้ว หากมีแรงกดมากกว่า 20 mm ปรอท 2-4 ชั่วโมง ติดตามตอนต่อไปสำหรับแผลกดทับ